top of page
โครงการปรับปรุงดินกรดในประเทศพม่า 

เป้าหมายโครงการ

-เพิ่มผลผลิตให้กับเกษตรกรชาวพม่า

-เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรชาวพม่า

-ลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยให้กับเกษตรกรชาวพม่า

พันธุ์ข้าวที่ใช้ในโครงการ: Pyi Taw Yin,Thai 80,Thai 90,Sin-Thukha,GW - 1

พื้นที่โครงการ 502.74 เอเคอร์

เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 91 ราย

จำนวนเกษตรกรตัวอย่าง: 9 ราย แบ่งเกษตรกรเป็น 3 กลุ่มดังนี้

1.ลดการใช้ปุ๋ย 2 ราย ค่า pH เฉลี่ยก่อนปรับปรุงดิน 5.1 pH เฉลี่ยหลังปรับปรุงดิน 5.92  เพิ่มขึ้น 0.82 ภายใน 1 เดือน

2.ไม่ลดการใช้ปุ๋ย 6 ราย  ค่า pH เฉลี่ยก่อนปรับปรุงดิน 4.93 pH เฉลี่ยหลังปรับปรุงดิน 5.75 เพิ่มขึ้น 0.81 ภายใน 1 เดือน ผลผลิตเฉลี่ย 

3.ใช้สารเคมี 1 ราย ค่า pH เฉลี่ยก่อนปรับปรุงดิน 4.80 pH เฉลี่ยหลังปรับปรุงดิน 5.72 เพิ่มขึ้น 0.92 ภายใน 1 เดือน

20.jpg
reduce.png
Group 1

ลดการใช้ปุ๋ย

ค่า pH ก่อนปรับ 5.1

ค่า pH หลังปรับ 5.92 ภายใน 1 เดือน

ผลผลิต +24.13%

ต้นทุน -26.49%

รายรับสุทธิ 135,126.20 MMK

(คำนวณจากค่าเฉลี่ยตัวอย่าง 2 ราย)

not reduce.png
Group 2

ไม่ลดการใช้ปุุ๋ย

ค่า pH ก่อนปรับ 4.93

ค่า pH หลังปรับ 5.75 ภายใน 1 เดือน

ผลผลิต +19.31%

ต้นทุน -0%

รายรับสุทธิ 109,344.49 MMK

(คำนวณจากค่าเฉลี่ยตัวอย่าง 6 ราย)

unusual chemi.png
Group 3

ใช้สารเคมีเพิ่มขึ้น

ค่า pH ก่อนปรับ 4.80

ค่า pH หลังปรับ 5.72 ภายใน 1 เดือน

ผลผลิต +37.75%

ต้นทุน +57.34%

รายรับสุทธิ +210,169 MMK

(คำนวณจากค่าเฉลี่ยตัวอย่าง 1 ราย)

IMG_0006.jpg

ประชุมเกษตรกร

ประชุมเกษตรกรใน 2 พื้นที่

-In-dine village 71 ราย

-Kyauk-ta-linn village 20 ราย

ทั้ง 2 หมู่บ้านอยู่ในเมือง Oktwin เขตตองอู

14.jpg

เก็บค่า pH ดินก่อนปลูก

เกษตรกรทำการเก็บตัวอย่างดินมา เพื่อวัดค่า pH โดยใช้เครื่องมือวัดค่า pH ขั้นตอนนี้จะทำให้เกษตรกรรู้ว่าดินของตนมีสภาพเป็นอย่างไร และควรจะใช้สารอัตรากรีนในอัตราเท่าไหร่

Oktwin warehouse 6.jpg

ขั้นตอนขนส่ง

ขนส่งสารอัลตร้ากรีนจากเมืองเมียวดี เข้ามายังเมือง Oktwin 

26.JPG

ขั้นตอนแจกจ่ายสาร

นัดรวมตัวเกษตรกรเพื่อมารับแจกสารอัลตร้ากรีนให้กับเกษตร ณ เมือง Oktwin

14.JPG

ขั้นตอนการฉีดพ่น

ผสมสารอัลตร้ากรีนกับน้ำตามอัตราส่วนที่แนะนำ ฉีดพ่นลงในแปลงปลูกก่อนทำการปลูก 

8. U Than Oo_pH5.00-6.20_(23Mar2018).jpg

เก็บค่า pH ดินหลัง ครบ 1 เดือน

นัดประชุมเกษตรเพื่อเก็บตัวอย่างดินหลังจากทำการปรับปรุงดินไปแล้ว 1 เดือน 

IMG_0211.JPG

เก็บตัวอย่างข้าวอายุ 1 เดือน

เก็บตัวอย่างข้าวอายุ 1 เดือน เพื่อดูการเจริญเติบโตของราก ลำต้น และการแตกกอ เปรียบเทียบระหว่างแปลงที่ทำการปรับปรุงดินและแปลงที่ไม่ได้ปรับปรุงดิน

9.jpg

เก็บตัวอย่างข้าวก่อนเก็บเกี่ยว

เพื่อเปรียบเทียบปริมาณผลผลิตระหว่างแปลงที่ทำการปรับปรุงดินและแปลงที่ไม่ได้ปรับปรุงดิน

bottom of page